คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (เชียงใหม่) ขอแสดงความยินดีต่อคณาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ประจำปี 2568 ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมการนำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและบริการชุมชน โดยมีคณาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนในครั้งนี้ ได้แก่ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ 1. ดร.ภาสินี ศิริประภา >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2568 คณาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง (มทร.ล้านนา ลำปาง) ช่วยเหลือซ่อมแซมเครื่องเป่าใบไม้สำหรับทำแนวกันไฟป่าของชุมชน ณ กาดนั่งก้อม สวนสาธารณะหนองกระทิง จังหวัดลำปาง โดยมีอาจารย์กีรติ วุฒิจารี เป็นอาจารย์ผู้ดูแลนักศึกษา ... >> อ่านต่อ
ทีมคณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง (มทร.ล้านนา ลำปาง) ร่วมแสดงนิทรรศการและจัดกิจกรรม workshop ย้อมถุงผ้าด้วยสีครั่งธรรมชาติ ภายในงาน “ มหัศจรรย์เส้นใยสีธรรมชาติ สัมผัสเสน่ห์ผ้าไทย ย้อมสีธรรมชาติ” ระหว่างวันที่ 18-19 มกราคม 2568 ณ กาดนั่งก้อม สวนสาธารณะหนองกระทิง จังหวัดลำปาง ... >> อ่านต่อ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU มทร.ล้านนา จัดกิจกรรมอบรมบรรยายพิเศษ ภายใต้โครงการ Reinventing University 2567 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2568 ณ ห้องประชุมบัวระวง อาคารเลิมพระเกียรติฯ มทร.ล้านนา กลุ่มงานยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (SPU) ได้จัดกิจกรรมอบรมบรรยายพิเศษภายใต้โครงการ Reinventing University ประจำปี 2567 โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้และทักษะให้กับบุคลากรในสถาบันการศึกษา, อาจารย์, นักวิจัย, และสถานประกอบการภายนอก ในการร่วมส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการใช้ประโยชน์เชิ... >> อ่านต่อ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนกวรรณ เวชกามา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการกองบริหารทรัพยากรลำปาง พร้อมด้วย บุคลากร นักศึกษาและศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง (มทร.ล้านนา ลำปาง) ร่วมกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา 20 ปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เพื่อน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมรับรางวั... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2568 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยคลินิกเทคโนโลยี และสถาบันเครือข่าย ได้แก่ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จัดกิจกรรม “OTOP สัญจร” พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2568 สร้างความรู้ความเข้าใจในการยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (OTOP สัญจร) ณ โรงแรมคุ้มภ... >> อ่านต่อ
อาจารย์สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง (มทร.ล้านนา ลำปาง) บรรยายให้ความรู้ทางวิชาการและร่วมดำเนินงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การชา (Tea science) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรเสฉวน (Sichuan Agricultural University) เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 22-28 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์การวิจัยสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมชาร่วมกัน ผศ.ดร.ธัญลักษณ์ ... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประกาศผลการคัดเลือกข้อเสนอโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่นประจำปี พ.ศ. 2568 โดยมีทีมที่ผ่านการคัดเลือกทั้งสิ้น 5 ทีม ได้แก่ 1. โครงการอนุรักษ์ผ้าทอกี่เอวสีธรรมชาติกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโพล่ง: การบูรณาการสื่อสร้างสรรค์และ ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัยเพื่อส่งเสริมการตลาดและความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชนบ้านแม่ขนาด อำเภอแม่ทา จ.ลำพูน ทีม Vision Makers กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้ากะเหรี่ยงแม่ขนาด หัวห... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) แสดงศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อชุมชนผ่านการจัดนิทรรศการในงานฤดูหนาวและงาน OTOP ของดีเมืองเชียงใหม่ ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 5-19 มกราคม พ.ศ. 2568 ณ บริเวณสนามด้านหลังศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ โดยความร่วมมือของบุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนและกองพัฒนาอาคารสถานที่ในการออกแบบและจัดโครงสร้างบูธนิทรรศการให้โดดเด่นในโซนส่วนราชการ ในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2568 อาจารย์อัคค์สัจจา ดวงสุภาสิญจ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัม... >> อ่านต่อ
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยความร่วมมือของ ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และทีมงาน สกร.อำเภอพร้าว ได้พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกและใช้ประโยชน์จากต้นห้อมของชนเผ่าลาหู่ซีในพื้นที่บ้านขอนม่วง ตำบลป่าไหน่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อหาวีดิทัศน์นำเสนอความสำคัญของต้นห้อมในฐานะ Soft Power ที่ช่วยสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ผ่านงานหัตถกรรมที่ผสมผสานอัตลักษณ์พื้นบ้าน เช่น การทอผ้าฝ้ายย้อมสีห้อม การออกแบบผล... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา